โรงเรียนไกรภักดีวิทยาคม
  • Home
  • ความเป็นมา
  • ความเป็นมาขอโครงการ
  • แนะนำโครงการอนุรักษ์พันธุ์พืชฯ
  • องค์ประกอบงานสวนพฤษศาสตร์โรงเรียน
  • วิเคราะห์หลักสูตร

หน้าเว็บ

  • แนะนำไกรภักดีวิทยาคม
  • วิสัยทัศน์
  • พันธกิจ
  • เอกลักษณ์ / อัตลักษณ์
  • เว็บไชต์โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ฯ

ใบงานองค์ 2-การรวบรวมพรรณไม้เข้าปลูกในโรงเรียน



1.กำหนดพรรณไม้ที่จะปลูก
2 ตารางบันทึกพืชที่จะนำเข้าปลูก
3.ภูมิศาสตร์
4.ลักษณะภูมิศาสตร์
5.ตารางบันทึกพืชที่จะนำเข้าปลูก
6.ตัวอย่างผังภูมิศาสตร์
7.ใบงานผังภูมิศาสตร์
8.ตารางแบบบันทึก องค์2
ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปยัง Xแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

หน้าแรก
สมัครสมาชิก: บทความ (Atom)
  • โรงเรียนไกรภักดีวิทยาคม พร้อมสำหรับการรับการประเมิน งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
    โรงเรียนไกรภักดีวิทยาคม เตรียมพร้อมสำหรับ รับการประเมิน งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ในวันที่ 4 เมษายน  2561 ...
  • ความเป็นมางานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
    ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน           ตามที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชดำริบางประกา...

พรรณไม้001-010

  • 001ประดู่บ้าน
  • 002สะเดา
  • 003นนทรี
  • 004เมื่อย
  • 005หาด
  • 006ไข่เน่า
  • 007หางนกยูงฝรั่ง
  • 008สะแบง
  • 009ขว้าว
  • 010กล้วยไม้ตระกูลหวาย

องค์ประกอบการเรียนรู้

  • องค์ประกอบที่ ๑
  • องค์ประกอบที่ ๒
  • องค์ประกอบที่ ๓
  • องค์ประกอบที่ ๔
  • องค์ประกอบที่ ๕

บรรยากาศกิจกรรม

บรรยากาศกิจกรรม
บรรยากาศกิจกรรม

คลังบทความของบล็อก

ค้นหาบล็อกนี้

เกี่ยวกับฉัน

Unknown
ดูโปรไฟล์ทั้งหมดของฉัน

รายงานการละเมิด

พรรณไม้011-020

  • 011กล้วยไม้เอื้อยงพวงมาลัย
  • 012เขลง หยี
  • 013ลำดวน
  • 014ไทรย้อย
  • 015กำลังควายถึก
  • 016สัก
  • 017หมากเหลือง
  • 018แมงลัก
  • 019กะเจียน
  • 020รักขาว

คณะนิเทศเยี่ยมชม

คณะนิเทศเยี่ยมชม
คณะนิเทศการเรียนการสอน จากเขต 28 โดยสหวิทยาเขตรัตนวงษา เยี่ยมชม ห้องสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนไกรภักดีวิทยาคา

กิจกรรมประชาสัมพันธ์

ดาวน์โหลดใบงาน

  • หน้าแรก
  • ใบงานองค์ 1-การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
  • ใบงานองค์ 2-การรวบรวมพรรณไม้เข้าปลูกในโรงเรียน
  • ใบงานองค์ 3-การศึกษาข้อมูลด้านต่าง ๆ
  • ใบงานองค์ 4-การรายงานผลการเรียนรู้
  • ใบงานองค์ 5-การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
  • แบบ ก7-003

ความสำคัญของโครงการอนุรักษ์พืช

โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) เป็นโครงการที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสบืสานพระราชปณิธาน และพระราชภารกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ท่ีทรงอนุรักษ์ต้น ยางนา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2503 ทรงเห็นความสําคัญของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ทรงดําเนินโครงการ อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพ ในปี พ.ศ. 2535 สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา ๆ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชดําริกับนายแก่วขวัญ วัชโรทัย เลขาธิการพระราชวัง ให้ดําเนินการอนุรักษ์พืชพรรณของประเทศและดําเนินการเป็นธนาคารพืช พรรณ ได้ดําเนินการ อพ.สธ. และจัดสร้างธนาคารพืชพรรณขึ้นในพื้นที่โครงการส่วนพระองค์ฯ สวน จิตรลดา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 เป็นต้นมา ปัจจุบัน อพ.สธ. มีการดําเนินงานใน 8 กิจกรรม โดยแบ่งตามกรอบการดําเนินงาน 3 กรอบ ได้แก่ กรอบการเรียนรู้ทรัพยากร (กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมปกปักพันธุกรรมพืช, กิจกรรมที่ 2 กิจกรรม สํารวจเก็บรวบรวมพันธุกรรมพืช และกิจกรรมที่ 3 กิจกรรมปลูกรักษาพันธุกรรมพืช ), กรอบการใช้ ประโยชน์ (กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมอนุรักษ์และใช้ประโยชน์พันธุกรรมพืช, กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมศูนย์ ข้อมูลพันธุกรรมพืช และกจิกรรมที่ 6 กิจกรรมวางแผนพัฒนาพันธุ์พืช ) กรอบการสร้างจิตสํานึก (กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมสร้างจิตสํานึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช และกจิกรรมท ่ี8 กจิกรรมพเิศษ สนับสนุนการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช) ได้ดําเนินงานเข้าสู่แผนแม่บทระยะ 5 ปีที่ห้า (ตุลาคม 2554 - กันยายน 2559) เป็นปีที่หนึ่งในปีงบประมาณ 2555 ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2554 – กันยายน 2555 จากสถานการณ์ของการเปลี่ยนแปลงบรรยากาศ (climate change) ที่หน่วยงานภาครัฐและ เอกชนให้ความสําคัญ นั่นเป็นสิ่งยืนยันของพระราชดําริที่สอดคล้องกับสถานการณ์โลก ก่อนที่ทั่วโลก เริ่มจะตื่นตัวอันผลสืบเนื่องมาจากการไม่รักษาทรัพยากรธรรมชาติ นั่นคือความหลากหลายทาง ชีวภาพที่ทั่วโลก ณ ปัจจุบันนี้ล้วนตระหนักถึงการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน นอกจาก กฎหมายภายในของแต่ละประเทศที่เข้ามามีสืวนบังคับใช้ ยังมีกฎหมายและอนุสัญญาระหว่าง ประเทศ ซึ่งเกี่ยวข้องในเรื่องทรัพยากรชีวภาพต่างๆ โดยเฉพาะอนุสัญญาความหลากหลายทาง ชีวภาพ หรือ CBD (Convention on Biological Diversity) ซึ่งประเทศไทยได้มอบสัตยาบันสาร เพื่อเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2546 มผีล ให้อนุสัญญาฯ มีผลบังคับใช้กับประเทศไทยในฐานะภาคีลําดับที่ 188 เมื่อวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2547 โดยเนื้อหาของอนุวัตถุประสงค์ของอนุสัญญาฯ คือ อนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ ใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพ และ แบ่งปันผลประโยชน์ที่เกิดจากการใช้ทรัพยากรทาง ชีวภาพอย่างยุติธรรมและเท่าเทียม ดังนั้นประเทศไทยในฐานะที่เป็นภาคีจึงต้องจัดทํานโยบาย มาตรการ และแผนการดําเนินงานขึ้นเอง ณ ขณะนี้ประเทศไทยกําลังดําเนินการอยู่โดยเร่งด่วนในทุก ๆ ด้าน
บริษัทนี้ดี จำกัด ธีม. ขับเคลื่อนโดย Blogger.